"กระจก หรือ ตะเกียง" การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของสื่อกรณีการชุมชนเคลื่อนไหวทางการเมืองในช่วง พ.ศ.2553และ2556-2557 ผ่านบทบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกำหนดกรอบ (Framing) ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดกรอบ และการทำหน้าที่ของบทบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง เปรียบเทียบระหว่างการชุมนุมทางการเมือง
ตัวอย่างบทความมโนทัศน์ “จริยธรรมสื่อ” ของนักข่าวพลเมือง ไทยแลนด์ บล็อกอะวอร์ดส
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา มโนทัศน์หรือแนวคิดจริยธรรมสื่อของนักข่าวพลเมือง ผู้กำลังมีบทบาทใน การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในสื่อใหม่ของยุคสื่อสังคมออนไลน์ ผลการศึกษา นี้สามารถใช้เป็นแนวทางเบื้องต้น
ตัวอย่างบทความองค์ประกอบเอกลักษณ์ การรับรู้ภาพลักษณ์แบรนด์วัฒนธรรมสุโขทัยและการมีบทบาทส่งเสริมแบรด์ประเทศ
ดุษฎีนิพนธ์ เรื่อง “องค์ประกอบเอกลักษณ์ การรับรู้ภาพลักษณ์ แบรนด์วัฒนธรรมสุโขทัย และการมีบทบาทส่งเสริมแบรนด์ประเทศ” มีวัตถุประสงค์การวิจัย 3 ข้อ คือ เพื่อศึกษาองค์ประกอบของเอกลักษณ์และวัฒนธรรมที่ใช้ในการสื่อสารแบรนด์วัฒนธรรมสุโขทัย
ตัวอย่างบทความตามรอยตำนาน “พระนางจามเทวี” ผ่านพัฒนาการสื่อ
อิทธิพลของสื่อทั้งสื่อเก่าและสื่อใหม่ในยุคหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) ก่อกระแสเรื่องราวเกี่ยวกับพระนางจามเทวีทั้งเรื่องจริง และเรื่องเท็จ ผ่านสื่อหลากหลายช่องทาง(platform) จนเป็นที่มาของความ ขัดแย้งระหว่างผู้ศรัทธาต่อพระนางกับผู้คิดเห็นต่าง
ตัวอย่างบทความการสำรวจความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ ด้านรายการและด้านเทคนิคของผู้ฟังในจังหวัดเชียงใหม่ ของสถานีวิทยุเสียงสื่อสารมวลชนเอฟเอ็ม 100 เมกะเฮิร์ต
การสำรวจความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการด้านรายการ และด้านเทคนิคของผู้ฟังในจังหวัดเชียงใหม่ของสถานีวิทยุเสียงสื่อสาร มวลชน เอฟเอ็ม 100 เมกะเฮิร์ต ได้ศึกษา 1. ลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมการรับฟัง 2. พฤติกรรมการรับฟังรายการวิทยุ สถานีวิทยุกระจายเสียง
ตัวอย่างบทความพฤติกรรมการเปิดรับฟังและความพึงพอใจของผู้ฟังที่มีต่อสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เอฟ.เอ็ม89.75เมกะเฮิรตซ์
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากร พฤติกรรรมการเปิดรับฟัง การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของผู้ฟังที่มีต่อสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดสุราษฏร์ธานี เอฟ. เอ็ม. 89.75 เมกะเฮิรตซ์ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ
ตัวอย่างบทความการรู้เท่าทันการสื่อสารยุคดิจิทัลของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
การวิจัยเรื่องการรู้เท่าทันการสื่อสารยุคดิจิทัลของประชาชนในเขต กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานครที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไป จำนวน 400 คน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจพฤติกรรมการสื่อสาร
ตัวอย่างบทความการรับรู้ ความรู้ และการยอมรับเทคโนโลยีโทรทัศน์ชุมชนของพื้นที่ชุมชนชายแดนภาคตะวันออก ประเทศไทย
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อถ่ายทอด ความรู้ เกี่ยวกับกระบวนการผลิตรายการ และการบริหารสถานีโทรทัศน์ ชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน (2) เพื่อศึกษาการรับรู้และความรู้เกี่ยว กับเทคโนโลยีโทรทัศน์ชุมชน
ตัวอย่างบทความบทสัมภาษณ์:จากเส้นจนเป็นรูป
“เติบโตมากี่สิบปีที่ผ่าน ภาพที่เห็นคือท่านทำงานทุกวัน เมื่อไรเราทำอะไรที่เกิดท้อ แค่มองดรููปบนข้างฝาจะได้กำลังใจจากรูปนั้น เป็นรูปที่มีทุกบ้าน จะรวย หรือจน หรือว่าจะใกล้ไกล เป็นรูปที่มีทุกบ้าน ด้วยความรัก ด้วยภักดี ด้วยจิตใจ”
ตัวอย่างบทความบทวิจารณ์:ศิลปะการสื่อสารขององค์ภูมิพล
หากพูดถึงพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชในด้านการสื่อสาร ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่จะคุ้นชินกับ ภาพพระองค์ใช้วิทยุสมัครเล่นเพื่อสื่อสารกับประชาชน และช่วยเหลือบรรเทา ทุกข์ของพสกนิกรชาวไทยที่ประสบภัยพิบัติห่างไกล หรือคุ้นเคยกับการ
ตัวอย่างบทความ