ผศ.ดร.มาโนช ชุ่มเมืองปัก
อาจารย์ผู้สอนหลักสูตรภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
[email protected] 02-954-7300 ต่อ 778
การศึกษา
- ปริญญาเอก Ph.D. Media Studies, La Trobe University, Melbourne, Australia (2011-2015)
- ปริญญาโท นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต การสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2544-2547)
- ปริญญาตรี นิเทศศาสตรบัณฑิต การภาพยนตร์และภาพนิ่ง (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2538-2542)
ประสบการณ์การทำงาน
- อาจารย์ประจำ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (2548-ปัจจุบัน)
- ผู้แปลและผลิตเนื้อหาสำหรับสื่อบริการสาธารณะประเทศออสเตรเลีย Special Broadcasting Service Corporation (SBS), Australia (2557-2561)
- หัวหน้าโครงการ (การผลิตสื่อโดยเยาวชนในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า) มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์ (2545-2548)
- กองบรรณาธิการนิตยสาร บริษัทแปลนพับลิชชิ่ง จำกัด (2542-2544)
ผลงานสร้างสรรค์
- ภาพยนตร์สั้น “สะพานคอนกรีต” (2542) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศการประกวดภาพยนตร์สั้น รางวัลช้างเผือก จัดโดยมูลนิธิหนังไทย
- ภาพยนตร์สารคดี “เสี้ยว” (2552) ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ผลงานวิชาการ
งานวิจัย
- “นิเวศสื่อ” เพื่อพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (ได้รับทุนจากกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์) (2561)
- การผลิตสื่อทางเลือกของคนชายขอบ: สื่อของชุมชนชาวไทยเชื้อสายปกาเกอะญอ(ได้รับทุนจากศูนย์วิจัย มหาวิทยาลยัธุรกิจบัณฑิตย์) (2560)
- Media practices, Displacement and Transnationalism: Media of Karen Refugees from Burma (Ph.D. thesis,2558)
- การติดตามและประเมินผลภายนอกภายใต้โครงการพัฒนานักสื่อสารสังคมเพื่อสร้างเจตคติเชิงสร้างสรรค์ต่อคนพิการ (2553)
- การเล่าเรื่องของภาพยนตร์ตลกไทยยอดนิยมชุด "บุญชู"กับการสร้างสรรค์ของผู้กำกับภาพยนตร์ (2547)(วิทยานิพนธ์ดีเด่นสาขาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
บทความตีพิมพ์ในวารสารและการนำเสนอในการประชุมวิชาการ
- การใช้สื่อของผู้อพยพย้ายถิ่นกับแนวคิดสนามสังคมข้ามพรมแดน (วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 2562)
- Exploring Refugee Agency through Documentary Production of Resettling Karen in Australia (5th World Conference on Media and Mass Communication, 2019)
- ภาวะกึ่งผูกขาดในธุรกิจโรงภาพยนตร์ในประเทศไทยกับบทบาท ของพื้นที่ทางเลือกเพื่อเสริมความหลากหลายในระบบภาพยนตร์ (วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 2561)
- ภาพยนตร์ของชุมชนคนไร้รัฐ (งานประชุมทางวิชาการด้านภาพยนตร์ ครั้งที่ 6, 2559)
- พัฒนาการของสื่อกะเหรี่ยงกับการต่อสู้ทางการเมืองในพม่า (วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 2559)
- The Sound of Loss and Hope: Pop Music of Karen Refugees from Burma/Myanmar (International Conference on Burma/Myanmar Studies, 2015)
- สื่อกะเหรี่ยงพลัดถิ่นบนพรมแดนไทย-พม่า: ตัวตนทางชาติพันธุ์กับพื้นที่สังคมข้ามพรมแดน (เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 7, 2557)
- “ความจริง” ที่ถูกเล่าในแบบภาพยนตร์สารคดี (วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 2551)
- การเล่าเรื่องของภาพยนตร์ตลกไทยยอดนิยมชุด "บุญชู" กับการสร้างสรรค์ของผู้กำกับภาพยนตร์ (วารสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
ความเชี่ยวชาญ
- ด้านกระบวนการผลิตภาพยนตร์ตั้งแต่ Pre - Pro – Post
- ด้าน “นิเวศสื่อ” และ “สื่อของกลุ่มชาติพันธุ์”