อาจารย์สุดถนอม รอดสว่าง

หัวหน้าหลักสูตรสื่อดิจิทัลและการสร้างสรรค์

[email protected] 02-954-7300 ต่อ 454


การศึกษา

  • MA, Information and Communication มหาวิทยาลัยซอร์บอน นูแวล ประเทศฝรั่งเศส (University of  Paris III - Sorbonne Nouvelle)
  • BA, Information and Communication  มหาวิทยาลัยซอร์บอน นูแวล ประเทศฝรั่งเศส (University of  Paris III - Sorbonne Nouvelle)
  • อ.บ. ภาษาตะวันตก (ฝรั่งเศส) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • Dip. DEUG Arts, Information and Communication มหาวิทยาลัยซอร์บอน นูแวล ประเทศฝรั่งเศส (University of Paris III - Sorbonne Nouvelle)

ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสื่อดิจิทัลและการสร้างสรรค์

  • Creative Thinking and Script Writing
  • Media Criticism and Media and Cultural Studies
  • Media Production for Children and Disabilities

ประสบการณ์การทำงานด้านสื่อดิจิทัลและการสร้างสรรค์

  • ผู้สร้างสรรค์และจัดนิทรรศการ “Je d’identités: le masque, l’homme et la societé” (I-Identities: The Mask,Human and Society) ระยะเวลา 3 อาทิตย์ ที่ศูนย์เยาวชนปารีส (Kiosque Paris-Jeune, Bastille) ประเทศฝรั่งเศส (2545)
  • ผู้ประสานงานการจัดนิทรรศการ “Exhibition to commemorate His Majesty King Chulalongkorn’s 150 th Birthday Anniversary” ที่สำนักงานใหญ่ UNESCO ประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส (ประสานงานระหว่างสถานทูตไทยประจำ กรุงปารีส UNESCO และบริษัทกันตนากรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ปี 2547)
  • producer รายการเถ้าแก่น้อย ออกอากาศทางช่อง 5 (ปี 2549)
  • producer และเขียนบทรายการสารคดีตามรอยเท้าพ่อ ออกอากาศทางช่อง 5 (ปี 2549)
  • producer และเขียนบทรายการ Animation Club และ Animation Club Z ออกอากาศทาง TPBS (2559-2560)
  • เขียนบทวิดิทัศน์ เช่น บทวิดิทัศน์แนะนำมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ บทวิดิทัศน์แนะนำห้องสมุด บทวิดิทัศน์แนะนำศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และบทวิดิทัศน์ชุด การยอมรับคนดีกลับคืนสู่สังคม ของกรมราชทัณฑ์

งานวิจัย/งานวิชาการรับใช้สังคม

  • บทความเรื่อง “ศิลปะการสื่อสารขององค์ภูมิพล” ลงในวารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2559
  • งานวิจัยร่วมเรื่อง “การประเมินคุณภาพรายการโทรทัศน์ภาษามือสำหรับคนหูหนวกการเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการนำไปใช้ประโยชน์ของประชาชนที่มีต่อรายการของThai Deaf TV นำเสนอสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) (2558)
  • งานวิจัยร่วมเรื่อง “การเปิดรับสื่อ การจดจำข่าวสาร และการตัดสินใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร นำเสนอสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)และ Unicef (2557)
  • งานวิจัยร่วมเรื่อง “การสื่อสารด้านสุขภาพของชุมชนเมือง : ศึกษาด้านมิติของผู้ส่งสาร” ชุดโครงการวิจัยการสื่อสารเพื่อความเท่าเทียม ทางสุขภาพ ทุนสนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (2554)
  • งานวิจัยร่วมเรื่อง “พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็นและการนำไปใช้ประโยชน์ของประชาชนที่มีต่อรายการ “ไอเดีย ได้’จัย” นำเสนอสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และบริษัทตกตะกอน